การดูแลครรภ์ในเดือนที่ 9

การดูแลครรภ์ในเดือนที่ 9

อีกไม่นานลูกก็จะคลอดออกมาแล้ว ดังนั้นเราจึงควรดูแลรักษาตัวเองเป็นอย่างดี พยายามอย่าเดินในที่ลื่นๆ ซึ่งทำให้เกิดอุบัติเหตุทำให้ล้มง่าย ทำให้เกิดความกระทบกระเทือนทั้งแม่และลูก

ช่วงนี้เราจะต้องเตรียมสุขภาพ และน้ำหนักของเราให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ อย่าให้มากไปหรือน้อยเกินไป

การเติบโตของลูก

สัปดาห์ที่ 36 ระยะนี้ลูกเติบโตอยู่ในขั้นที่เกือบจะเรียกได้ว่าสมบูรณ์แล้ว มดลูกและตัวเด็กมีขนาดใหญ่จนถึงทรวงอก

ข้อควรระวัง

อย่าละเลยการไปพบแพทย์ตามกำหนดนัด แม้ว่าการคลอดทารกในช่วงอายุครรภ์นี้มีโอกาสรอดสูงถึง 90% แต่ลูกก็อาจจะไม่แข็งแรง ดังนั้นเราจึงควรจะไปพบแพทย์เพื่อตรวจสุขภาพครรภ์ทุกครั้งตามที่แพทย์นัด

บทความที่เกี่ยวข้อง

การดูแลครรภ์ในเดือนที่ 8
การดูแลครรภ์ในเดือนที่ 8 อีกเพียงแค่ 2 เดือนลูกน้อยก็ออกมาลืมตาดูโลกแล้ว ในช่วงเดือนที่ 8 นี้เราจะต้องดูแลเอาใจใส่ตัวเองมากเป็นพิเศษ เพื่อที่จะไม่เกิดความผิดพลาด หรือว่าเกิดอันตรายต่อลูกในท้องหรือว่าแท้งได้ ในช่วงนี้แพทย์จะนัดเราบ่อยขึ้นกว่าปกติ โดยจะนัดประมาณสัปดาห์ละ 2 ครั้ง เพื่อตรวจชีพจร การเต้นของหัวใจ การเจริญเติบโต และสิ่งต่างๆ ที่มีผลต่อพัฒนาการของลูก รวมไปถึงสุขภาพต่างๆ ของแม่ด้วย ในช่วงระยะนี้เราควรจะจดความผิดปกติของร่างกายและนำไปพบแพทย์เพื่อไปตรวจ เพราะอาจจะเป็นปัญหาของความผิดปกติได้ เราจึงไม่ควรประมาท การเติบโตของลูก สัปดาห์ที่ 32 ระยะนี้ลูกจะเจริญเติบโตอย่างเต็มที่แ..
การเตรียมตัวคลอด
เมื่อตั้งครรภ์ครบตามกำหนดแล้ว สิ่งที่เราตั้งหน้าตั้งตารอก็จะมาถึง นั่นก็คือการที่ลูกน้อยจะลืมตาออกมาดูโลกใบนี้ เป็นโซ่ทองคล้องใจของพ่อและแม่ ซึ่งคุณแม่ก็จะมีเรื่องที่น่ารู้เกี่ยวกับการคลอดดังนี้ อาการบ่งบอกว่าเด็กใกล้คลอด มีอาการปวดเกร็งที่มดลูก คล้ายๆ กับการปวดช่วงที่เรามีประจำเดือน แต่ว่ามีความรุนแรงกว่าตอนที่ปวดประจำเดือนอยู่มาก จะเกิดขึ้นอย่าสม่ำเสมอ ประมาณทุกๆ 5-10 นาที มีมูกเลือดออกมาจากช่องคลอด มีน้ำคร่ำ หรือของเหลวใสไม่มีสี หรือสีเหลืองอ่อนออกมาจากช่องคลอด น้ำหนักตัวของเด็ก น้ำหนักตัวของเด็กที่ใกล้จะคลอดและคลอดออกมาจะอยู่ระหว่าง 2,500 – 4,500 กรัม ซ..